วันพุธที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

MacID ออกอัพเกรดใหม่กลับมาใช้งานได้แล้ว

หลังจากที่ทาง Apple ได้ออกอัพเกรด OS X 10.10.3 และ iOS 8.3 มาทำให้เราไม่สามารถใช้งาน App MacID ในการปลดล็อคเครื่องได้มาสักพักหนึ่งตอนนี้ทางผู้พัฒนา MacID ได้ออกอัพเกรด MacID เวอร์ชั่น 1.2 สำหรับ  iOS 8.3 และเวอร์ชั่น 1.2.1 สำหรับ OS X 10.10.3  แล้ว ตอนนี้ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดอัพเกรดมาใช้งานการได้แล้ว


รูปที่ 1 โดยสามารถเข้าดาวน์โหลด MacID 1.2.1 for OS X 10.10.3 ได้ที่แล้ว

เมื่อทำการดาวน์โหลด MacID for PC ได้แล้วจะได้ตัวติดตั้ง MacID มาดังรูปที่ 2

รูปที่ 2 แสดงตัวติดตั้ง MacID for PC 

จากนั้นให้ทำการติดตั้ง MacID for PC โดยการคลิ๊กขวา เลือก Open

การติดตั้ง MacID for PC  ขั้นตอนที่ 1


รูปที่ 3 การติดตั้ง MacID for PC  ขั้นตอนที่ 1

การติดตั้ง MacID for PC ขั้นตอนที่ 2


รูปที่ 4 การติดตั้ง MacID for PC ขั้นตอนที่ 2

การติดตั้ง MacID for PC ขั้นตอนที่ 3


รูปที่ 5 การติดตั้ง MacID for PC ขั้นตอนที่ 3

จากนั้น MacID for PC จะถูกย้ายไปยัง Applications จากนั้นให้ Restart เครื่อง 

เมื่อ Restart เครื่องเสร็จแล้วจะมีไอคอน MacID for PC ปรากฏอยู่บนแท็บเครื่องดังรูปที่ 6 


รูปที่ 6 แสดงไอคอน MacID for PC ปรากฏอยู่บนแท็บเครื่อง

ให้เปิด Bluetooth ทั้งเครื่อง Mac ที่ต้องการใช้และ iPhone จากนั้น App จะทำการเชื่อมต่อกันโดยอัตโนมัติ เมื่ออุปกรณ์ทั้งสองทำการเชื่อมต่อกันแล้ว MacID for PC จะมีเครื่องแถบคำว่า iPhone ปรากฏขึ้นดังรูปที่ 7 
รูปที่ 7 แสดงการการเชื่อมต่อ MacID for PC และเครื่อง iPhone สำเร็จแล้ว

ให้เลือกที่อุปกรณ์ในที่นี้คือ iPhone จากนั้นจะมีแถบ CONTINUE ปรากฏขึ้นมาด้านล้าง ให้กดที่ปุ่ม CONTINUE
รูปที่ 8 แสดงแถบ CONTINUE ปรากฏขึ้นมาด้านล้าง 

หลังจากที่กดที่ปุ่ม CONTINUE แล้วจะมีหน้าต่างใหม่ปรากฏขึ้นมาดังรูปที่ 11

รูปที่ 9 แสดงหน้าต่าง Password ของเครื่องที่เราล็อคไว้

เมื่อใส่ Password เสร็จแล้วให้กดที่ปุ่ม FINISH ต่อ เท่านี้ก็เสร็จเรียบร้อยแล้ว (ให้ใส่ Password ที่ใช้ล็อคอินเครื่องนะครับ ถ้ายังไม่ได้ตั้งก็ให้ไปตั้ง Password Log In ก่อน)
รูปที่ 10 แสดงขั้นตอนสุดท้ายในการใส่ Password

แค่นี้เราก็สามารถกลับมาใช้เครื่อง iPhone ในการปลดล็อคได้แล้วครับ

วันเสาร์ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2558

การจับหน้าจอโดยใช้ App Grab จากโปรแกรม Utilities

วิธีจับหน้าจออีกแบบของ OSX คือการใช้ App Grab จากโปรแกรม Utilities ซึ่งมีอยู่ในเครื่องที่เราใช้งานอยู่ใช้งานได้ฟรีเลยครับ
              วิธีที่ 1 การใช้คีย์ลัดในการจับหน้าจอ
              วิธีที่ 2 การจับหน้าจอโดยใช้ App Grab จากโปรแกรม Utilities
              วิธีที่ 3 การจับหน้าจอโดยใช้ App Lightshot Screenshot

วิธีที่ 2 การจับหน้าจอโดยใช้ App Grab จากโปรแกรม Utilities
ก่อนอื่นให้เราไปที่ Utilities ก่อนเพื่อเปิด Grab ขึ้นมาใช้งาน


รูปที่ 1 แสดง App ต่างๆ ที่อยู่ Utilities 

เมื่อเข้าไปใน Utilities ให้เราหาไอคอน "Grab" แล้วคลิ๊กที่ Grab เพื่อเปิดขึ้นมาใช้งาน

รูปที่ 2 แสดงหน้าต่างการทำงานของ Grab 

ให้สังเกตที่แถบเครื่องมือด้านบนจะมีแถบแสดงสถานะการทำงานของ Grab


รูปที่ 3 แสดงแถบแสดงสถานะการทำงานของ Grab บนแถบเครื่องมือ

จากนั้นให้ไปที่ Capture แล้วเลือกว่าต้องการให้ Grab จับหน้าจอแบบไหน

ตัวอย่าง : ผมเลือกจับหน้าจอแบบ Selection เมื่อเลือกแล้วก็จะมีหน้าต่าง Screen Grab ขึ้นมาพร้อมกับเคอร์เซอร์ที่เปลี่ยนเป็นตัวเลขสองแกนข้ึนมาแทนลูกศร

รูปที่ 4 แสดงหน้าต่าง Screen Grab และเคอร์เซอร์ที่เปลี่ยนเป็นตัวเลขสองแกน

เมื่อเลือกพื้นที่ได้แล้ว Grab ก็จะบันทึกให้โดยอัตโนมัติ ที่เราต้องทำคือตั้งชื่อไฟล์ภาพ และบอกแหล่งที่ต้องการจะเก็บภาพ


รูปที่ 5 แสดงหน้าต่างการบันทึกภาพ


























การจับภาพหน้าจอ Mac OS

สำหรับผู้ที่เคยใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows อาจจะคุ้นเคยกับการใช้งานปุ่ม  Print Screen ในการจับภาพหน้าจอ แต่สำหรับผู้ใช้งาน Mac OS บางคนอาจจะยังไม่ทราบวิธีการจับภาพหน้าจอ อาจคิดว่าจะต้องสรรหาโปรแกรมมาลงเพิ่มเติม แต่ Mac OS เองได้เตรียมวิธีในการจับภาพหน้าจอให้ 3 วิธีคือ การใช้คีย์ลัด และการใช้ App Grab จากโปรแกรม Utilities ก็ได้  หรือจะใช้ App Lightshot Screenshot
              วิธีที่ 1 การใช้คีย์ลัดในการจับหน้าจอ
              วิธีที่ 2 การจับหน้าจอโดยใช้ App Grab จากโปรแกรม Utilities
              วิธีที่ 3 การจับหน้าจอโดยใช้ App Lightshot Screenshot

วิธีที่ 1 การใช้คีย์ลัดในการจับหน้าจอ
1). การจับหน้าจอภาพทั้งหมดของจอจะใช้คีย์ลัดในการจับภาพหน้าจอ คือ Shift + Command + 3 โดยระบบ OX จะถูกตั้งค่าเริ่มต้นในการบันทึก (Save) เป็นไฟล์ .png


รูปที่ 1 แสดงตำแหน่งปุ่ม Shift + Command + 3 บนแป้มพิมพ์

ซึ่งคำสั่งจาก วิธีที่ 1 จะเป็นการสั่งจับหน้าจอทั้งหมด


รูปที่ 2 แสดงภาพที่จับได้จากวิธีที่ 1

2). การจับหน้าจอจับภาพเฉพาะส่วนที่เลือกจะใช้คีย์ลัดในการจับ คือ Shift + Command + 4 โดยระบบ OX จะถูกตั้งค่าเริ่มต้นในการบันทึก (Save) เป็นไฟล์ .png



                                รูปที่ 2 แสดงตำแหน่งปุ่ม Shift + Command + 4 บนแป้มพิมพ์


เมื่อกดปุ่ม Shift + Command + 4 พร้อมกันแล้วเคอร์เซอร์จะเปลี่ยนจากลูกศรเป็นดังรูปที่ 3



รูปที่ 3 แสดงลักษณะเคอร์เซอร์ที่เปลี่ยนไป

หลังจากที่เคอร์เซอร์เปลี่ยนจากลูกศรเป็นดังรูปที่ 3 แล้วให้ลากบริเวณที่ต้องการจับหน้าจอ

รูปที่ 4 แสดงการลากบริเวณที่ต้องการจับหน้าจอ


รูปที่ 5 ภาพที่ได้จากการลากเคอร์เซอร์ในบริเวณที่ตามการ

3). การจับหน้าจอจับภาพเฉพาะส่วนที่เลือกจะใช้คีย์ลัดในการจับ คือ Shift + Command + 4 และกดปุ่ม Spacebar
             จากวิธีที่ 3 ถ้าเรากดปุ่ม Spacebar หลังจากที่กดปุ่ม Shift + Command + 4 แล้ว


รูปที่ 6 แสดงตำแหน่งปุ่ม Spacebar

หลังจากที่กดปุ่ม Spacebar แล้วเคอร์เซอร์จะเปลี่ยนเป็นรูปกล้องถ่ายภาพดังรูปที่ 7


รูปที่ 7 แสดงลักษณะเคอร์เซอร์เปลี่ยนรูปกล้องถ่ายภาพ

เมื่อเคอร์เซอร์เปลี่ยนเป็นรูปกล้องถ่ายภาพ จากนั้นให้เลือกบริเวณที่ต้องการจับหน้าจอ

                                            รูปที่ 8 แสดงบริเวณที่เลือกจะทำการจับหน้าจับ    
                       

                                           รูปที่ 9 ภาพที่ได้จากการจับหน้าจับบริเวณที่เลือก


4). การจับหน้าจอภาพทั้งหมดของจอให้เป็น Clipboard จะใช้คีย์ลัดในการจับภาพหน้าจอ คือ Shift + Control + Command + 3 จับภาพทั้งหน้าจอไว้ใน Clipboard


รูปที่ 10 แสดงตำแหน่งปุ่ม Shift + Control + Command + 3 บนแป้มพิมพ์

5). การจับหน้าจอจับภาพเฉพาะส่วนที่เลือกให้เป็น Clipboard จะใช้คีย์ลัดในการจับภาพหน้าจอ คือ Shift + Control + Command + 4


รูปที่ 11 แสดงตำแหน่งปุ่ม Shift + Control + Command + 4 บนแป้มพิมพ์

สำหรับภาพที่อยู่ Clipboard สามารถนำไปแก้ไขใน Preview โดยอาจจะเพิ่มคำบรรยาย หรือขีดเส้นใต้ ใส่ลูกศรชี้ ตามความเหมาะสม หรือใช้โปรแกรมตกแต่รูปอื่น ๆ ที่มีอยู่ในเครื่อง

ในการแปลง หรือใช้โปรแกรมตกแต่งรูปอื่น ๆ ตามแต่ถนัด

การเปลี่ยน format ของภาพที่จับ
โดยปกติแล้วเวลาที่เราจับภาพหน้าจอบน OS X ภาพที่ได้จะเป็นภาพที่มี format เป็น .png แต่ว่าเราสามารถทำการเปลี่ยน format ของภาพที่จัลให้เป็น format อื่นๆ ได้ เช่น jpeg, tiff, pdf ซึ่งเราสามารถทำได้ตามขั้นตอยนี้

ขั้นตอนที่ 1 เปิด terminal ขึ้นมาจะได้ดังรูปที่ 12 ถ้าหา terminal ไม่เจอก็ไปที่ ช่องค้นหา แล้วพิมพ์ว่าวคำ "terminal " ลงไปแค่นี้ก็จะปรากฏสิ่งที่เราต้องการแล้ว
รูปที่ 12 แสดงการคันหา terminal

จากนั้นเมื่อเปิด Terminal ขึ้นมาได้แล้วให้พิมพ์ใส่คำสั่งตามด้านล่างนี้ลงไป

                   คำสั่ง defaults write com.apple.screencapture type format

หมายเหตุ format คือ ให้ผู้ใช้ใส่ format ของภาพที่ต้องการลงไป


รูปที่ 13 แสดงหน้าต่าง Terminal 

ขั้นตอนที่ 2 การพิมพ์คำสั่ง
                   จากคำสั่งในขั้นตอนที่ 1

ตัวอย่างที่ 1 กรณีที่ผมต้องการเปลี่ยนให้ภาพที่จับหน้าจอเป็น .jpg ผมก็ตามพิมพ์ต่อท้ายด้วย format ภาพที่ผมต้องการ

                    เช่น defaults write com.apple.screencapture type jpg (สามารถ copy คำสั่งไปวางใน Terminal ได้)



รูปที่ 14 แสดงการพิมพ์คำสั่งจากขั้นตอนที่ 1 ลงใน Terminal 

เมื่อพิมพ์เสร็จแล้วให้กด enter จากนั้นก็ใส่คำสั่งด้านล่างนี้แล้วกด enter อีกที


รูปที่ 15 แสดงหน้าต่าง Terminal หลังจากที่ทำตามขั้นตอนที่ 1 ที่กด enter แล้ว

จากนั้นให้พิมพ์คำสั่งชุดที่ 2 ลงไป

                   คำสั่ง killall SystemUIServer (สามารถ copy คำสั่งไปวางใน Terminal ได้) แล้วกด enter อีกครั้ง


รูปที่ 16 แสดงหน้าต่าง Terminal หลังจากที่พิมพ์ชุดคำสั่งที่ 2 ที่กด enter แล้ว

หากต้องการเปลี่ยนกับเป็น format .png ก็ทำเหมือนเดินแต่เปลี่ยน format เป็น .png

ตัวอย่าง format ภาพที่รองรับมีดังนี้
.png (ค่าเริ่มต้น)
.pdf
.jpg
.jp2 (JPG2000)
.gif
.tif (TIFF)
.bmp
.pict
.tga

ซึ่งภาพแต่ละ format ก็จะมีความสามารถต่างกันออกไป เช่น .jpg ก็อาจจะขนาดของไฟล์ภาพที่เล็กกว่า .png และทำพื้นหลังโปร่งใสไม่ได้ เป็นต้น

หมายเหตุ แต่ขอแนะนำว่า format .png สามารถใช้ได้อเนกประสงค์มากกว่า format อื่น ๆ

การจับหน้าจอโดยใช้ App Lightshot Screenshot

บางคนอาจจะเคยอ่านวิธีการจับหน้าจอแบบต่าง ๆ มาแล้วและยังมีอีกหนึ่งทางเลือกที่การใช้ App Lightshot ที่เราสามารถดาวน์โหลดจาก Mac Store มาใช้งานได้ฟรี
              วิธีที่ 1 การใช้คีย์ลัดในการจับหน้าจอ
              วิธีที่ 2 การจับหน้าจอโดยใช้ App Grab จากโปรแกรม Utilities
              วิธีที่ 3 การจับหน้าจอโดยใช้ App Lightshot Screenshot

วิธีที่ 3 การจับหน้าจอโดยใช้ App Lightshot Screenshot

ขั้นตอนแรกให้เข้าไปดาวน์โหลด App Lightshot Screenshot จาก Mac Store ก่อน


รูปที่ 1 แสดงหน้าต่าง ดาวน์โหลด App Lightshot Screenshot ใน Mac Store

เมื่อดาวน์โหลด App Lightshot Screenshot ลงบนเครื่องเสร็จแล้วก็สามารถเริ่มการใช้งานได้เลยทันที จากนั้นให้เปิดใช้งาน App Lightshot Screenshot โดยคลิ๊กที่ไอคอนของ App Lightshot Screenshot



รูปที่ 2 แสดง App Lightshot Screenshot ที่

หลังจากที่เราคลิ๊กที่ไอคอนของ App Lightshot Screenshot แล้วก็จะเริ่มการใช้งานได้ทันที่ ให้สังเกตว่าหน้าจอจะเปลี่ยนเป็นสีดำโปร่งแสงดังรูปที่ 3


รูปที่ 3 แสดงหน้าจอที่ App Lightshot Screenshot กำลงทำงานอยู่

จากนั้นให้เราลากพื้นที่ที่เราต้องการจับภาพหน้าจอ


รูปที่ 4 แสดงตัวอย่างการลากพื้นที่การจับภาพหน้าจอ

หมายเหตุ : เราสามารถปรับเปลี่ยนพื้นที่ที่เราทำการลากได้

เมื่อได้พื้นที่ที่ต้องการแล้วก็ให้กดบันทึกที่ไอคอนด้านล่าง
รูปที่ 5 แสดงหน้าต่าง Save การบันทึกภาพหน้าจอ

จากนั้นก็จะปรากฏหน้าต่าง Save ขึ้นมาเราสามารถตั้งชื่อ ไฟล์ และกำหนดที่จัดเก็บไฟล์ภาพได้


รูปที่ 6 ภาพที่ได้จากการบันทึก

ความสามารถของ App Lightshot Screenshot ไม่ได้มีแค่การจับหน้าจอเพียงอย่างเดียวเรายังสามารถปรับแต่งโดยใช้เครื่องที่มากับ App Lightshot Screenshot


รูปที่ 7 แสดงเครื่องของ App Lightshot Screenshot

เป็นทางเลือกที่ดีมาก ใช้งานง่าย





















วันจันทร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2558

ปลดล็อคเครื่อง Mac ด้วย iPhone

เมื่ออาทิตย์ก่อน App MacID ใจดีเปิดให้โหลดใช้งานฟรี ^^ ผมนี้รีบโหลดเลย แต่...ใช้งานไม่เป็น เนื่องจากเร็งเป้าผิดคิดว่าต้องใช้การเชื่อมต่อ Bluetooth ให้ได้ก่อน 555 แต่เครื่อง MacBook Pro กับเครื่อง iPhone 6 Plus กับไม่ยอมเชื่อมต่อกันงานนี้มี โว้ย...เกิดไรขึ้นกับเครื่อง จากนั้นก็นั่งมึนกลับ App MacID 1 อาทิตย์เต็ม หาวิธีใช้งาน App อยู่พักใหญ่ จะลบทิ้งก็ยังไม่ลองทำให้สุดๆ เลย
      สำหรับท่านที่ดาวน์โหลดไม่ทันถ้าสนใจสามารถซื้อ App MacID มาใช้กันได้ในราคาที่ไม่แพงมากนักถ้าแลกกับความสะดวกในการปลดล็อคเข้าเครื่อง Mac ต่าง ๆ ทำให้ชีวิตง่ายขึ้น ^^ ในราคา 130 บาท (3.99 เหรียญ)



อุปกรณ์ที่สนับสนุน
     1. iPhone 4s                       6. Mac Pro
     2. iPhone 5s                       7. iMac 2012 (21", 27"), iMac 5K
     3. iPhone 6                         8. MacBook Pro (13", 15")
     4. iPhone 6 Plus                 9. MacBook Pro Retina (13", 15")
     5. iPad Mini 3                   10. Mac Mini
     6. iPad Air 2                      11. MacBook Air Mid 2011 (11", 13")

ขั้นตอนที่ 1 ให้ดาวน์โหลด App MacID มาก่อน โดย App MacID มีขนาดปริมาณ 0.9 MB ซึ่งไม่เปลืองพื้นที่มากนัก


รูปที่ 1 แสดงหน้าต่างดาวน์โหลด App MacID for iOS

ขั้นตอนที่ 2 ให้ดาวน์โหลด MacID สำหรับเครื่อง PC และ NoteBook มาติดตั้งก่อน โดยให้คลิ๊กที่ปุ่ม Download v1.1


รูปที่ 2 แสดงหน้าต่างดาวน์โหลด MacID for PC

จะปรากฏหน้าต่างเล็ก ๆ ขึ้นมาให้คลิ๊กที่ปุ่ม Download อีกครั้ง
รูปที่ 3 แสดงหน้าต่างดาวน์โหลด MacID for PC ที่ 2

เมื่อทำการดาวน์โหลด MacID for PC ได้แล้วจะได้ตัวติดตั้ง MacID มาดังรูปที่ 4

รูปที่ 4 แสดงตัวติดตั้ง MacID for PC 

จากนั้นให้ทำการติดตั้ง MacID for PC โดยการคลิ๊กขวา เลือก Open

การติดตั้ง MacID for PC  ขั้นตอนที่ 1



รูปที่ 5 การติดตั้ง MacID for PC  ขั้นตอนที่ 1

การติดตั้ง MacID for PC ขั้นตอนที่ 2



รูปที่ 6 การติดตั้ง MacID for PC ขั้นตอนที่ 2

การติดตั้ง MacID for PC ขั้นตอนที่ 3


รูปที่ 7 การติดตั้ง MacID for PC ขั้นตอนที่ 3

จากนั้น MacID for PC จะถูกย้ายไปยัง Applications จากนั้นให้ Restart เครื่อง 

เมื่อ Restart เครื่องเสร็จแล้วจะมีไอคอน MacID for PC ปรากฏอยู่บนแท็บเครื่องดังรูปที่ 8 


รูปที่ 8 แสดงไอคอน MacID for PC ปรากฏอยู่บนแท็บเครื่อง

ให้เปิด Bluetooth ทั้งเครื่อง Mac ที่ต้องการใช้และ iPhone จากนั้น App จะทำการเชื่อมต่อกันโดยอัตโนมัติ เมื่ออุปกรณ์ทั้งสองทำการเชื่อมต่อกันแล้ว MacID for PC จะมีเครื่องแถบคำว่า iPhone ปรากฏขึ้นดังรูปที่ 9 
รูปที่ 9 แสดงการการเชื่อมต่อ MacID for PC และเครื่อง iPhone สำเร็จแล้ว

ให้เลือกที่อุปกรณ์ในที่นี้คือ iPhone จากนั้นจะมีแถบ CONTINUE ปรากฏขึ้นมาด้านล้าง ให้กดที่ปุ่ม CONTINUE
รูปที่ 10 แสดงแถบ CONTINUE ปรากฏขึ้นมาด้านล้าง 

หลังจากที่กดที่ปุ่ม CONTINUE แล้วจะมีหน้าต่างใหม่ปรากฏขึ้นมาดังรูปที่ 11

รูปที่ 11 แสดงหน้าต่าง Password ของเครื่องที่เราล็อคไว้

เมื่อใส่ Password เสร็จแล้วให้กดที่ปุ่ม FINISH ต่อ เท่านี้ก็เสร็จเรียบร้อยแล้ว (ให้ใส่ Password ที่ใช้ล็อคอินเครื่องนะครับ ถ้ายังไม่ได้ตั้งก็ให้ไปตั้ง Password Log In ก่อน)
รูปที่ 12 แสดงขั้นตอนสุดท้ายในการใส่ Password

เมื่อทำการตั้งค่าแล้วก็ถึงเวลาทดสอบว่าการปลดล็อคใช้ได้จริงหรือเปล่า ^^ สามารถใช้ได้กับเครื่อง Mac หรือ MacBook ได้หลายเครื่อง